...

ตอน 4 (Autonomous Maintenance) Step 1-3 ของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง

  ・Step 1:ทำความสะอาดเบื้องต้น (1)การทำความสะอาดคือ การตรวจสอบ             ด้วยการทำความสะอาด ทำให้ได้เห็นได้สัมผัส และค้นพบจุดบกพร่องได้อย่างจริงจัง (2)จุดบกพร่องเล็กน้อย คือ ข้อบกพร่องเล็กขนาดที่อาจมองไม่เห็น หรือคิดว่าอาจไม่ส่งผลต่อการขัดข้องของเครื่องจักรหรือ             ของเสีย  ถ้าเพียงจุดบกพร่องนั้นอาจไม่ทำให้เกิดปัญหา แต่เมื่อมีจุดบกพร่องเล็กน้อย   เกิดพร้อมกันจึงเกิดปัญหาขึ้นได้             ฝุ่นผง สิ่งสกปรก วัตถุดิบติด สึก คลอน หลวม รั่ว กร่อน เปลี่ยนรูป รอย แตก อุณหภูมิสูง เสียงผิดปกติ สั่น ฯลฯ (3)จุดบกพร่องมีทั้งเห็นเด่นชัด และที่แฝงเร้น            จุดบกพร่องที่เราไม่รู้สึกตัว เรียกว่า จุดบกพร่องแฝงเร้น            จุดบกพร่องแฝงเร้นนี้ มีทั้งจุดบกพร่องแฝงเร้นทางกายภาพ และทางจิตวิทยา                  1)จุดบกพร่องแฝงเร้นทางกายภาพ: จุดบกพร่องที่ถูกปล่อยทิ้งไว้เพราะ                          มองไม่เห็นทางกายภาพถ้าไม่ถอดออกมาจะมองไม่เห็น ตำแหน่งติดตั้งไม่ดี […]

ตอน 3 (Autonomous Maintenance) วิธีดำเนินการ Autonomous Maintenance

         เพื่อให้การทำ Autonomous Maintenance เป็นไปอย่างจริงจัง จำเป็นต้องมีการยกระดับเป็นขั้นเป็นตอนไปใน Autonomous Maintenance นี้ มีระบบที่มีการปรับปรุงไว้แล้วเพื่อยกระดับเครื่องจักรและคน  เมื่อดำเนินการตามระบบนั้น  ขั้นหนึ่งเสร็จสิ้นแล้ว  ผู้บริหารหรือ ทีมงาน จะทำการวินิจฉัย เมื่อผ่านแล้ว ก็จะก้าวไปสู่ขั้นตอนต่อไป เป็นการดำเนินการโดยเน้นการนำของผู้มีตำแหน่งบริหาร ระบบนี้นั้น เรียกว่า การดำเนินการตามขั้นตอนของ Jishu Hozen เนื้อหากิจกรรมในแต่ละขั้นตอน เป็นไปตาม ตารางภาพขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม Autonomous Maintenance  ในตอนที่ 2         การดำเนินการตามขั้นตอนของ Jishu Hozen มีเป้าหมาย เพื่อให้เครื่องจักรมีประสิทธิภาพการผลิตที่สูงและเสริมสร้างบุคคลที่มีความสามารถควบคุมด้วยตัวเองเก่งเรื่องเครื่องจักรนั้น ต้องดำเนินการเตรียมการล่วงหน้า (Step 0 ) และดำเนินการ 7 Step ของการดำเนินการ Autonomous Maintenance 1. เตรียมตัวล่วงหน้า ( […]

ตอน 1 การบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตัวเอง (Autonomous Maintenance)

ความจำเป็นของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง : เพื่อป้องกันการเกิดปัญหากะทันหันล่วงหน้า การบำรุงรักษาด้วยตนเอง คือ ควบคุมการเสื่อมสภาพ “รักษาที่ทำงาน เครื่องจักรให้อยู่ในสภาพดีที่สุด”  เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา การบำรุงรักษาด้วยตนเอง             1)จุดประสงค์                          ・กำจัดการเสื่อมสภาพที่ผิดธรรมชาติของเครื่องจักร ค้นพบความผิดปกติแต่เนิ่น ๆ                         ・สร้างสถานปฏิบัติงานที่ทำงานง่าย สร้างพื้นฐานของสถานปฏิบัติงาน             2)จุดมุ่งหมาย                         ปกป้องสถานปฏิบัติงาน เครื่องจักรของตนเองด้วยตนเอง             3)เป้าหมาย                         สร้างสรรค์ “บุคลากรที่เก่งเรื่องเครื่องจักร” “บุคลากรที่เก่งเรื่องการผลิต” 1. วิธีดำเนินการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ・ความสามารถ 7 ประการที่ต้องมีติดตัว       1)ความสามารถในการค้นพบสิ่งผิดปกติ             ไม่ใช่ความผิดปกติที่เป็นผล แต่ต้องเป็นความสามารถในการค้นพบสิ่งผิดปกติ             ที่เป็นสาเหตุของผลนั้น       2)ความสามารถในการจัดการฟื้นสภาพ             มีความสามารถในการฟื้นสภาพจัดการสิ่งผิดปกติที่ค้นพบอย่างรวดเร็ว หรือ             แจ้งเหตุได้อย่างถูกต้อง     […]

ตอน 25 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: ไคเซ็นวิธีการจัดการ (จำนวนเป้าหมายการซ่อมบำรุง)

         โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับจำนวนเป้าหมายการซ่อมบำรุงซึ่งเป็นโจทย์ที่ใหญ่  นั่นเป็นสาเหตุให้ระยะเวลาการปรับก่อนเริ่มดำเนินการยืดเวลาออกไป และยังมีภาระในการหาคนมาปฏิบัติงานนั้น จึงจำเป็นต้องทำการไคเซ็น  ในการไคเซ็น ดังแสดงในผังที่ 6-28        ① ลดจำนวนเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ต้องซ่อมบำรุง       ② ทบทวนแผนการบำรุงรักษาระยะยาว  ผลคือสามารถลดจำนวนเครื่องจักรอุปกรณ์เป้าหมายการซ่อมบำรุงได้มากกว่า 20%       เกี่ยวกับหัวหน้าผู้ควบคุมในการจัดการการซ่อมแซมเป็นประจำโดยรวม เกิดโจทย์การบริหารหน้างานว่าคนในตำแหน่งหน้าที่ระดับไหนจึงจะเหมาะกับหน้าที่ที่จะทำให้ “การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพดีและทำได้ด้วยความปลอดภัย”        บริษัทของเรามีหัวหน้างานของหน้างาน คือ หัวหน้าผู้ปฏิบัติงาน, Team Leader, Group Manager  ผู้ที่รู้จักหน้างานเป็นอย่างดีน่าจะเป็นหัวหน้าผู้ปฏิบัติงาน จึงเปลี่ยนหัวหน้าผู้ควบคุมจาก Team Leader ในตอนแรกมาเป็นหัวหน้าผู้ปฏิบัติงาน  เรามี 4 ทีม 3 ผลัด หัวหน้าผู้ปฏิบัติงาน 4 คนเปลี่ยนเวรกันคนละปี โดยจุดมุ่งหมายอีกอย่างคือการทำให้เกิด (พัฒนา) วิธีการจัดการติดตัวไปด้วย […]

ตอน 24 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: มุมมองการไคเซ็นฟังก์ชัน )

       ใน Step 6-3 ต่อจากการศึกษาผลกระทบ ก็ประกอบขึ้นด้วยมุมมองการไคเซ็นฟังก์ชัน  ในที่นี้        จากการตรวจสอบสาเหตุของการสูญเสียฟังก์ชัน มีการทำให้มองเห็นว่าได้มีการไคเซ็นอย่างไรเพื่อไม่ให้สูญเสียฟังก์ชัน (ผังที่ 6-18)        ใน Step 6-3 ในการดำเนินการตามแนวคิดไคเซ็นที่พิจารณาแล้ว จะเชื่อมโยงสู่ “การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) อันเป็นการป้องกันปัญหาตั้งแต่ยังไม่เคยเกิดต่อไป (ผังที่ 6-19)        ต่อจากนั้น สำหรับหัวข้อที่ทำการไคเซ็นแล้ว ให้ทำการพิสูจน์-ประเมินประสิทธิผล  เพราะการดำเนินการ AM เช่นนี้ จะมีการหมุนตาม PDCA cycle อย่างเป็นธรรมชาติ การดำเนิน Step จึงปรากฏเป็นประสิทธิผลในทันที  ด้วยการทำกิจกรรม Step 6-1 ถึง 6-3 จะได้ผลสัมฤทธิ์บรรลุ “ความเป็นศูนย์” ได้   […]

ตอน 23 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: การกระจายเครื่องจักร)

       ในตัวอย่างโรงงานมีทั้งปั๊มสุญญากาศแบบแนวนอนและแนวตั้ง  ปั๊มสุญญากาศแบบแนวตั้งที่ติดตั้งใหม่มีแนวโน้มที่มีปัญหาเยอะ  ในการเริ่มดำเนินการให้ “ปัญหาของปั๊มสุญญากาศ” เป็นศูนย์  ก่อนอื่น เริ่มจากการตรวจสอบ-ทำความเข้าใจหน้าที่และฟังก์ชันของอุปกรณ์ ต่อจากนั้นจึงเขียนเนื้อหาอย่างเป็นรูปธรรม ตั้งแต่การกำหนดขอบแขตเป้าหมายที่จะดำเนินมาตรการต่อปั๊มสุญญากาศ จนถึงการสำรวจเกณฑ์สมรรถนะ        Stage 1 ดำเนินการโดยแบ่งเป็น 6 Step ผังที่ 6-13 เป็นสิ่งที่อยู่ใน Step 3 “การกระจายเครื่องจักร – เข้าใจโครงสร้าง-ฟังก์ชัน” จัดทำขึ้นเพื่อทำความเข้าใจโครงสร้างของทั้งแบบแนวนอนและแบบแนวตั้ง เป็นผังโครงสร้างซึ่งผู้ปฏิบัติงานที่หน้างานจัดทำขึ้นเอง และยังใช้เป็นสื่อในการฝึกอบรมได้ด้วย        Step 4 การสะสางประวัติเครื่องจักร ดังแสดงในผังที่ 6-14 เป็นการทำให้มองเห็น (Visualize) ว่าเกิดปัญหาอย่างไหนเมื่อไร โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเชื่อมโยงสู่ Step ต่อไป       ผังที่ 6-14 การวิเคราะห์เครื่องจักรขัดข้องปัญหาใหญ่ และมาตรการ   ผังที่ […]

ตอน 22 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: การดำเนิน Step อย่างเป็นรูปธรรม)

★ การดำเนิน Step อย่างเป็นรูปธรรม        ดังแสดงเป็น (ตัวอย่าง) ใบ Audit Step ดังผังที่ 6-11 ใบนี้แยกออกเป็น 4 Step ที่เขียนไว้ในตารางการดำเนิน Step AM (การสร้างโครงสร้างการบำรุงรักษา)       ใน Stage 1 ทำความเข้าใจ-ทบทวนพื้นฐานของเครื่องจักร Stage 2 ทำความเข้าใจพื้นฐานการจัดการเครื่องจักร Stage 3 ศึกษาผลกระทบของการขัดข้อง Stage 4 สร้างแผนการบำรุงรักษา สร้างโครงสร้างการบำรุงรักษา       ผังที่ 6-11 เป็นใบที่จัดทำขึ้นเพื่อรับ Top Audit หลังทำกิจกรรม Stage 1 แล้ว  การประเมินนี้ โดยเฉพาะ “3. สภาพการพัฒนา Engineering […]

ตอน 21 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: ระบบของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง/การบำรุงรักษาตามแผน)

ผังที่ 6-8 ระบบการบำรุงรักษาด้วยตนเอง/การบำรุงรักษาตามแผน ★ หน้าที่ของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) และการบำรุงรักษาตามแผน (PM) ใน Part III       การแบ่งหน้าที่ของ AM และ PM เป็นดังในผังที่ 6-8 ในส่วนของการบำรุงรักษาที่ดูแลโดย AM (ฝ่ายผลิต) ก็มี “การตรวจเช็คประจำวัน การตรวจวัดการสั่นสะเทือน การหล่อลื่น การตรวจเช็คด้วยตา การตรวจเช็คการรั่วไหล การจัดการเมื่อเกิดสิ่งผิดปกติ”         อีกด้านการบำรุงรักษาที่เป็นความร่วมมือของ AM และ PM ก็คือการสร้าง “ระบบการบำรุงรักษา” โดยเฉพาะที่โรงงานB ไม่มีการจัดช่างซ่อมบำรุงประจำ มีโครงสร้างการรักษาเครื่องจักรของตัวเองด้วยตัวเอง มีการบริหารจัดการระบบบำรุงรักษาด้วยการจัดการ Tag อย่างสมบูรณ์ นำหน้าโรงงานA ถือเป็นผลสัมฤทธิ์อันยิ่งใหญ่อันหนึ่ง และ output นั้นเชื่อมโยงถึง “แผนงบประมาณ การทบทวนรอบการตรวจเช็คซ่อมบำรุง การประชุมพิจารณาเครื่องจักร”     […]

ตอน 20 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: การทวนซ้ำ “การบำรุงรักษาด้วยตนเอง” (AM)

★ การทวนซ้ำ “การบำรุงรักษาด้วยตนเอง”       แต่หลังจบ Step 5 แล้ว มีหลายบริษัทที่ลำบากกับการจะให้คนเข้าใหม่ทำกิจกรรมอย่างไร  ดังนั้น จึงอยากขอแนะนำการทำ “กิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง Part II” ดังนี้       1. Step 1         ก่อนอื่น ให้เรียนรู้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่ของเครื่องจักรในระดับชิ้นส่วน มีการจัดทำ “แผนผังฟังก์ชันเครื่องจักร” ดังแสดงในผังที่ 6-6 ต่อจากนั้น เมื่อชิ้นส่วนเสียหาย ให้พิจารณาว่าเกิดปรากฏการณ์อย่างไร และสิ่งนั้นส่งผลกระทบที่ไหนของเครื่องจักร         จุดที่โดนผลกระทบก็คือจุดตรวจเช็ค  ในตอนนี้จะสอนประสบการณ์ในอดีตของคนเก่าให้แก่คนใหม่ แล้วบันทึกลงใน “แผนผังฟังก์ชันเครื่องจักร”       2. Step 2       ใช้ […]

Seraphinite AcceleratorOptimized by Seraphinite Accelerator
Turns on site high speed to be attractive for people and search engines.