...

ตอน 1 เข้าใจง่าย ทำได้แน่นอน การบำรุงรักษาคุณภาพที่ดำเนินการด้วย “Infinite Loop”

“Infinity Loop” เทคนิคนี้ตอนได้ยินครั้งแรก จากการทำกิจกรรม TPM ที่เพิ่งเริ่มต้น รู้สึกว่ามันสดใหม่มาก จากการ maintain สู่การไคเซ็น นั่นก็คือ ก่อนอื่นต้องลองปฏิบัติตามสิ่งที่กำหนด แล้วถ้ายังไม่ดี ก็ต้องลองทบทวนสิ่งที่กำหนด ในสมัยที่ตัวอย่างและข้อมูลยังน้อย ประสบการณ์ที่ต้องต่อสู้ พยายามจะใช้เทคนิคนี้ในบริษัทของตนเอง ก็ได้กลายเป็นพื้นฐานของกิจกรรมไคเซ็น ในตอนนี้ Infinity ...
Read More

ตอน 38 (Autonomous Maintenance)Step 7 การบริหารจัดการด้วยตนเองอย่างจริงจัง 6. มาดำเนินการกระตุ้นกลุ่มย่อยให้คึกคักด้วย AM กันเถอะ

กิจกรรม AM ไม่ใช่แค่สร้างผลกำไร หากดำเนินกิจกรรม AM ก่อนอื่น เครื่องจักรและสภาพแวดล้อมของหน้างานจะเปลี่ยน เมื่อเป็นเช่นนั้น การเปลี่ยนแปลงจนถึงความคิดและพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานก็จะปรากฏให้เห็น บรรยากาศของหน้างานก็จะเปลี่ยนไป นั่นก็คือเป็นการกระตุ้นกลุ่มย่อยให้คึกคัก เราลองมาดูตัวอย่างของบริษัทอื่นเกี่ยวกับ Intangible Results เหล่านี้กัน ● เครื่องจักร หน้างาน คนจะเปลี่ยน ! ...
Read More

ตอน 37 (Autonomous Maintenance)Step 7การบริหารจัดการด้วยตนเองอย่างจริงจัง 5. มาดำเนินการ AM ที่สร้างผลกำไรกันเถิด

- การฟื้นสภาพและไคเซ็นสร้างผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์สร้างความยินดีในการบรรลุ - ที่นี้ ด้วยการดำเนินการกิจกรรม AM ดังที่ได้พูดมาจนถึงตรงนี้ จะได้ Tangible Results อย่างไร จะขอยกตัวอย่างของกลุ่มย่อยของบริษัทต่าง ๆ ที่ทำ TPM มาให้ฟัง ● ได้ผลแบบนี้ “เวลาทำความสะอาด-หล่อลื่น-ตรวจเช็ค” ...
Read More

ตอน 36 (Autonomous Maintenance)Step 7 การบริหารจัดการด้วยตนเองอย่างจริงจัง 4. การบริหารจัดการด้วยตนเองคืออะไร

ถึงตรงนี้ ได้พูดถึง “การบริหารจัดการประจำวัน” “การบริหารจัดการนโยบาย” “ผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวัง” มาแล้ว จากตรงนี้ไป คิดว่าอยากจะพูดถึงวิธีการประเมินโดยรวมของ 3 เรื่องเหล่านั้น และวิธีการประเมินระดับการบริหารจัดการด้วยตนเองของพวกตน ● ปฏิบัติตามสิ่งที่กำหนด + ไคเซ็น = ผลสัมฤทธิ์ ได้พูดถึงแล้วว่าระดับของการบริหารจัดการด้วยตนเองจะถูกประเมินด้วย การบริหารจัดการประจำวัน การบริหารจัดการนโยบาย ...
Read More

ตอน 35 (Autonomous Maintenance)Step 7 การบริหารจัดการด้วยตนเองอย่างจริงจัง 3. ผลสัมฤทธิ์ที่คาดหวังจากพวกเรา

ผลสัมฤทธิ์ที่พวกเราถูกคาดหวังในฐานะที่เป็นหน้าที่ที่ควรทำให้บรรลุในกิจกรรมการผลิตคือ “ต้นทุนถูก ผลิตภาพสูง ประสิทธิภาพสูง และรักษาสภาพเหล่านั้นไว้ได้” เป็นต้น และเพื่อบรรลุสิ่งเหล่านั้น จำเป็นต้องทำให้ Loss ชัดเจน และดำเนินกิจกรรมเพื่อลด Loss นั้น ● ในการบรรลุผลสัมฤทธิ์จำเป็นต้องลด Loss ต้นทุน สามารถคำนวณได้จากการดูว่าใช้ค่าใช้จ่ายไปแค่ไหน และผลิตออกมาได้แค่ไหน ดังนั้นก่อนอื่น ...
Read More

ตอน 34 (Autonomous Maintenance)Step 7 การบริหารจัดการด้วยตนเองอย่างจริงจัง 2. การบริหารจัดการนโยบายคืออะไร

ต่อไปจะขอพูดถึงอีกสิ่งหนึ่งที่เป็นที่ต้องการในการทำการบริหารจัดการด้วยตนเอง นั่นคือการบริหารจัดการนโยบาย การบริหารจัดการนโยบาย หมายถึง “ทำให้ theme ไคเซ็นที่ควรต้องแก้ไขในสถานที่ทำงานของพวกตนตามนโยบายเบื้องบนชัดเจน แล้วยกระดับการบรรลุกิจกรรมการผลิตโดยดำเนินการไคเซ็นอย่างกระตือรือร้น” ● สิ่งที่ทำมาแล้วและสิ่งที่ต้องทำต่อไป พวกเรายังดำเนินการอีกเสาของ TPM นั่นคือการปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (FI) ด้วย Theme ในการไคเซ็นนั้นคิดว่าได้กำหนดจากว่า “ตอนนี้พวกตนจะต้องดำเนินการ Theme ไคเซ็นแบบไหน” ...
Read More

ตอน 33 (Autonomous Maintenance)Step 7 การบริหารจัดการด้วยตนเองอย่างจริงจัง 1. การบริหารจัดการประจำวันคืออะไร

  เอาละ มาถึง Step 7 “การบริหารจัดการด้วยตนเองอย่างจริงจัง”  การบริหารจัดการด้วยตนเองนี้ ประกอบด้วย “การบริหารจัดการประจำวันและการบริหารจัดการนโยบาย”  การอธิบายเพียงแค่นั้น คงไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร  ดังนั้น จะขออธิบายไล่ตามลำดับว่าการบริหารจัดการด้วยตนเองในทางรูปธรรมว่า “จะต้องทำอะไรอย่างไร”  ก่อนอื่นจะขอพูดเรื่องการบริหารจัดการประจำวันที่ต้องการในการทำการบริหารจัดการด้วยตนเอง การบริหารจัดการประจำวัน หมายถึง “การทำให้สิ่งที่กำหนดของทุกสถานที่ทำงานอยู่ในสภาพปฏิบัติตามได้ง่าย เพื่อยกระดับการบรรลุกิจกรรมการผลิตด้วยการปฏิบัติตามอย่างแน่นอน” ● ...
Read More

ตอน 32 (Autonomous Maintenance)Step 6 การสร้างมาตรฐานและการควบคุมรักษา 3. ทบทวนสิ่งที่กำหนดอย่างไร

เพื่อให้ปฏิบัติตามสิ่งที่ต้องปฏิบัติตามเหล่านี้ได้อย่างแน่นอน จำเป็นที่ทุกคนต้องพูดคุยหารือ ทบทวนแต่ละหัวข้อเหล่านั้นว่า “จะปฏิบัติตามอย่างไร” “อะไรที่ปฏิบัติตามได้ยาก” “ตรวจสอบอย่างไรว่ามีการปฏิบัติตามอยู่” นั่นก็คือสิ่งที่ต้องดำเนินการใน Step 6 “การสร้างมาตรฐานและควบคุมรักษา” ● พิจารณาหัวข้อที่ควรต้องทบทวน ในการดำเนินการ Step 6 ก่อนอื่นต้องพิจารณาเกี่ยวกับว่า “หัวข้อไหนที่จำเป็นต้องทบทวนเพื่อให้ปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง” สิ่งสำคัญคือการกำหนดหัวข้อที่ต้องทบทวนใน Step นี้จากจุดที่ว่า ...
Read More

ตอน 31 (Autonomous Maintenance)Step 6 การสร้างมาตรฐานและการควบคุมรักษา 2. ทบทวนสิ่งที่กำหนดอย่างไร

2 ทบทวนสิ่งที่กำหนดอย่างไร พวกเราต้องใช้สิ่งของต่าง ๆ (ทรัพยากร) ที่มีอยู่หน้างานเพื่อทำกิจกรรมการผลิต และคาดหวังผลสัมฤทธิ์จากแง่มุมต่าง ๆ ระหว่างสิ่งเหล่านั้น มีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร ให้ลองคิดว่าต้องปฏิบัติตามสิ่งที่กำหนดอย่างไรบ้าง ● คาดหวังผลสัมฤทธิ์แบบไหน พวกเราต้องการผลสัมฤทธิ์ต่อ PQCDSM (ยอดผลิต คุณภาพ ต้นทุน การส่งมอบ ความปลอดภัย ...
Read More

ตอน 29 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คด้วยตนเอง 6. การตรวจเช็คด้วยตนเองในสถานที่ปฏิบัติงานด้วยมือ

       การตรวจเช็คโดยรวมของสถานที่ปฏิบัติงานด้วยมือ ให้ตรวจเช็คมาตรฐานการปฏิบัติงานชั่วคราวตาม “Check Sheet การปฏิบัติตามได้ยาก (การประเมินระดับความยากง่ายของการปฏิบัติงาน)”        แล้วทำการไคเซ็นข้อบกพร่อง จากนั้นจึงแก้ไขปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติงานชั่วคราวด้วยตัวหนังสือสีแดง       ใน Step 5 ...
Read More

ตอน 28 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คด้วยตนเอง 5. แบ่งหน้าที่กับหน่วยงานซ่อมบำรุง

       เมื่อดำเนินการจนถึง Step 5 ของ AM แล้วก็แสดงว่าในตอนนี้ เราได้มาตรฐานการควบคุมเครื่องจักรและมาตรฐานการควบคุมการปฏิบัติงานที่กลุ่มคนของหน่วยงานผลิตต้องปฏิบัติตามแล้ว ●  เครื่องขัดข้องและของเสียเป็นความน่าละอายของหน้างาน       ตัวอย่างที่ได้พูดถึงจนถึงตรงนี้ คิดว่าเป็นหลักฐานพิสูจน์ว่าได้พัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้ดำเนินการ AM จนสามารถคิดได้ว่า “เครื่องขัดข้องและของเสียเป็นความน่าละอายของหน้างาน” ...
Read More
Seraphinite AcceleratorOptimized by Seraphinite Accelerator
Turns on site high speed to be attractive for people and search engines.