ตอน 11 การกำหนดนโยบายพื้นฐานและเป้าหมายไปสู่ TPM for SME
1. การกำหนดนโยบายพื้นฐาน ทำการสะสางนโยบายพื้นฐาน แนวคิดการบริหารธุรกิจและสภาพวดล้อมที่รายล้อม แล้วแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนไปสู่ TPM for SME ภายในแผนธุรกิจนอกจากนี้ ภายในเป้าหมายการบริหารจัดทำเป้าหมายของ TPM for SME ตารางภาพ ...
Read More
Read More
ตอน 10 การทำให้ภาพ TPM for SME ที่มุ่งหวังมีความชัดเจน
6-1 วัตถุประสงค์ของการทำให้ชัดเจน การทำให้นโยบายและเป้าหมายมีความชัดเจนนั้น ไม่ว่าบริษัทที่ไหนก็เป็นสามัญสำนึกของการบริหารนโยบายอยู่แล้ว ดังนั้น จึงมีการแสดงให้เห็นปรัชญาบริษัท, นโยบายประธาน, แผนระยะกลาง, เป้าหมายของแต่ละปีต่างๆ การทำให้เจตนารมณ์ของผู้บริหารธุรกิจมีความชัดเจนนั้น รวมทั้งการให้พนักงานทั้งหมดมีความเข้าใจในทิศทางที่ควรจะก้าวไปหรือแนวคิดของบริษัทอยู่เสมอ จึงเป็น “ก้าวแรกของการไคเซ็นคุณลักษณะของบริษัท” ...
Read More
Read More
ตอน 9 การจัดระเบียบองค์กรกิจกรรมในการส่งเสริม TPM for SME
5.1 การจัดระเบียบองค์กรกิจกรรม ให้มีการผสมผสานองค์กรแนวตั้งของระดับบริหารในการส่งเสริม TPM for SME ให้ผสมผสานกับคณะกรรมการส่งเสริมที่มีผู้บริหารสูงสุดเป็นแกนกลาง หรือรูปแบบที่มีองค์กรแนวนอนการไคเซ็น หรือ Circle เข้าด้วยกัน นั่นคือ การสร้างองค์กรแบบ Matrix ที่มีแนวตั้งและแนวนอนหรือที่เป็น “องค์กรกลุ่มย่อยซ้อนกัน” ในรูปแบบการเข้าร่วมการบริหารเป็นกลุ่ม ...
Read More
Read More
ตอน 8 การ Implement Campaign
4 Implement Campaign ทำการรวบรวมสโลแกน คำขวัญต่างๆ เป็นเป้าหมายในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์การซึมซับและรู้กระจ่างต่อกิจกรรมไปยังพนักงานโดยผ่านการใช้คำขวัญ สามารถทำให้พนักงาน Operator พนักงานชั่วคราว ที่โอกาสที่จะแสดงความคิดเห็นในแต่ละวันมีน้อย ได้มีโอกาสคิดถึงบริษัทหรือมีความคาดหวังต่อภาพอนาคตของบริษัทเกิดขึ้น ซึ่งจะทำให้การเข้าใจต่อบรรยากาศของบริษัทและกิจกรรมดำเนินไปได้ ในบริษัท (โรงงาน) ใช้การแสดงโปสเตอร์ สโลแกนที่รวบรวมมาทั้งหมด สามารถส่งเสริมสร้างให้เกิดบรรยากาศของกิจกรรมทั้งหมดของบริษัท (โรงงาน) Campaignทำการรวบรวมโปสเตอร์ ...
Read More
Read More
ตอน 7 การดำเนินการกิจกรรม Model
3. การดำเนินการกิจกรรม Model 3-1 วัตถุประสงค์ ในการดำเนินกิจกรรมนั้น ประการแรก ผู้บริหารสูงสุด - ผู้จัดการโรงงาน - ผู้บริหารจะปฏิบัติกิจกรรม TPM for SME โดยเป็นกิจกรรม Model วัตถุประสงค์นั้น มีดังต่อไปนี้ จากการที่ผู้บริหารสูงสุด ...
Read More
Read More
ตอน 6 การศึกษาการ Implement
การศึกษาการ Implement มีเป้าหมายที่คนที่ยังไม่รู้จัก TPM for SME จะทำการเชิญที่ปรึกษาหรือผู้เชี่ยวชาญจากบริษัทแม่มาที่หน้างาน เพื่อให้เรียนรู้ความรู้ขั้นพื้นฐาน ดังแสดงในตัวอย่างการแจ้งการจัดการศึกษา Implement ในตาราง 2-4 ความรู้ขั้นพื้นฐาน คือ ความคิดของกิจกรรม ปรัชญาพื้นฐาน ลักษณะพิเศษ ...
Read More
Read More
ตอน 5 การเตรียมการ Implement TPM for SME
ขั้นตอนของการ Implement TPM for SME (การสร้างระบบเตรียมการ Implement) การเตรียมการ Implement TPM for SME หมายถึง ก่อนจะถึงการ Kick Off ...
Read More
Read More
ตอน 4 แนวคิดของ TPM for SME
4-1 ความสัมพันธ์ของ TPM for SME ใน TPM for SME นั้น บริษัทที่มุ่งสู่ “การผลิตที่เป็นของตัวเอง” ด้วยขนาดที่เล็กจะมีเป้าหมายการสร้างฐานพื้นฐานของการสร้างความแข็งแกร่งของคุณลักษณะที่เน้นคน ด้วยกิจกรรมที่สอดคล้องกับขนาด ความสัมพันธ์ของเสา 4 เสาของ TPM for SME ...
Read More
Read More
ตอน 3 ลักษณะพิเศษของ TPM for SME
3-1 TPM for SME ทบทวนพื้นฐานของที่ทำงาน ประการแรก หลักการพื้นฐานของที่ทำงานนั้น คือ การมุ่งสู่เป้าหมายนั่นเอง ด้วยเหตุนี้ คนที่ทำงานในที่ทำงานนั้น จะต้องมุ่งมั่นต่อการทำงาน มีความชำนาญในงานต่อการ Setup หรืองานต่างๆมีจิตสำนึกการบริหารสูงต่อเรื่องที่ต้องปฏิบัติตามในที่ทำงาน หรือระยะเวลาส่งมอบ มีจิตสำนึกการประสานเชื่อมโยงในงาน มีความสมานสามัคคี คนที่ทำงานจะต้องรับเอาคุณลักษณะที่ทำงาน ที่สามารถทำสิ่งเหล่านี้มาสู่ตัวเองได้ ...
Read More
Read More
ตอน2 TPM for SME คืออะไร
เมื่อบริษัทขนาดกลางและย่อมเริ่มทำกิจกรรมอะไรบางอย่าง ก็มักจะมีปัญหาที่เป็นของบริษัทขนาดกลางและย่อมเกิดขึ้นเสมอ โดยทั่วไป ในบริษัทขนาดกลางและย่อมนั้น จะมีพนักงานประมาณ 10 ~ 50 คนเท่านั้น ก็จะมีโครงสร้าง “เป็นทางการ” เช่น ประธานบริษัท, ผู้จัดการโรงงาน, พนักงานหรือว่าทีมงาน Staff ...
Read More
Read More
ตอน 1 จุดเริ่มกิจกรรม TPM for SME เพื่อผลลัพธ์อันสั้น ด้วยต้นทุนที่ต่ำ
1. ประเด็นปัญหาที่มีอยู่ของบริษัทขนาดกลางและย่อม ภายใต้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว บริษัทขนาดกลางและย่อมได้ดำเนินการสร้างประสิทธิภาพให้แก่ ค่าจ้างแรงงานหรือการลงทุนเครื่องจักร ทั้งยัง Restructuring อย่างเอาเป็นเอาตายเพื่อการฟื้นสภาพธุรกิจของตน พร้อมกับการดำเนินการดังกล่าว สิ่งที่บริษัทขนาดกลางและย่อมต้องทำต่อไปคือ การรับรู้สภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่บริษัทตัวเองเผชิญอยู่หรือ จุดแข็ง จุดอ่อนของบริษัทตนเอง ดำเนินการบริหารด้วยความเด็ดเดี่ยวจากมุมมองหลายมุมมอง ไม่ยึดติดกับตัวอย่างที่มีมาก่อนหรือวัฒนธรรมการปฏิบัติของบริษัทอื่นหรือในวงการ หมายความว่าเป็น “บริษัทขนาดกลางและย่อมที่เป็นตัวของตัวเอง” 1-1 การเปลี่ยนแปลงการผลิตของอุตสาหกรรมการผลิต ลักษณะพิเศษของอุตสาหกรรมการผลิตที่เป็นแกนกลางมายาวนานจนถึงช่วงเติบโตในระดับสูง ...
Read More
Read More