ตอน 3 (Autonomous Maintenance) วิธีดำเนินการ Autonomous Maintenance

         เพื่อให้การทำ Autonomous Maintenance เป็นไปอย่างจริงจัง จำเป็นต้องมีการยกระดับเป็นขั้นเป็นตอนไปใน Autonomous Maintenance นี้ มีระบบที่มีการปรับปรุงไว้แล้วเพื่อยกระดับเครื่องจักรและคน  เมื่อดำเนินการตามระบบนั้น  ขั้นหนึ่งเสร็จสิ้นแล้ว  ผู้บริหารหรือ ทีมงาน จะทำการวินิจฉัย เมื่อผ่านแล้ว ก็จะก้าวไปสู่ขั้นตอนต่อไป ...
Read More

ตอน 2 (Autonomous Maintenance) Step การบำรุงรักษาด้วยตนเอง

  เรียบเรียงโดย  อาจารย์ณรงค์เกียรติ  นักสอนที่ปรึกษา TPM-JIPM ...
Read More

ตอน 1 การบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตัวเอง (Autonomous Maintenance)

ความจำเป็นของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง : เพื่อป้องกันการเกิดปัญหากะทันหันล่วงหน้า การบำรุงรักษาด้วยตนเอง คือ ควบคุมการเสื่อมสภาพ “รักษาที่ทำงาน เครื่องจักรให้อยู่ในสภาพดีที่สุด”  เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา การบำรุงรักษาด้วยตนเอง             1)จุดประสงค์                          ・กำจัดการเสื่อมสภาพที่ผิดธรรมชาติของเครื่องจักร ค้นพบความผิดปกติแต่เนิ่น ๆ                         ・สร้างสถานปฏิบัติงานที่ทำงานง่าย สร้างพื้นฐานของสถานปฏิบัติงาน             ...
Read More

ตอน 25 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: ไคเซ็นวิธีการจัดการ (จำนวนเป้าหมายการซ่อมบำรุง)

         โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับจำนวนเป้าหมายการซ่อมบำรุงซึ่งเป็นโจทย์ที่ใหญ่  นั่นเป็นสาเหตุให้ระยะเวลาการปรับก่อนเริ่มดำเนินการยืดเวลาออกไป และยังมีภาระในการหาคนมาปฏิบัติงานนั้น จึงจำเป็นต้องทำการไคเซ็น  ในการไคเซ็น ดังแสดงในผังที่ 6-28        ① ลดจำนวนเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ต้องซ่อมบำรุง       ② ...
Read More

ตอน 24 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: มุมมองการไคเซ็นฟังก์ชัน )

       ใน Step 6-3 ต่อจากการศึกษาผลกระทบ ก็ประกอบขึ้นด้วยมุมมองการไคเซ็นฟังก์ชัน  ในที่นี้        จากการตรวจสอบสาเหตุของการสูญเสียฟังก์ชัน มีการทำให้มองเห็นว่าได้มีการไคเซ็นอย่างไรเพื่อไม่ให้สูญเสียฟังก์ชัน (ผังที่ 6-18)        ใน ...
Read More

ตอน 23 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: การกระจายเครื่องจักร)

       ในตัวอย่างโรงงานมีทั้งปั๊มสุญญากาศแบบแนวนอนและแนวตั้ง  ปั๊มสุญญากาศแบบแนวตั้งที่ติดตั้งใหม่มีแนวโน้มที่มีปัญหาเยอะ  ในการเริ่มดำเนินการให้ “ปัญหาของปั๊มสุญญากาศ” เป็นศูนย์  ก่อนอื่น เริ่มจากการตรวจสอบ-ทำความเข้าใจหน้าที่และฟังก์ชันของอุปกรณ์ ต่อจากนั้นจึงเขียนเนื้อหาอย่างเป็นรูปธรรม ตั้งแต่การกำหนดขอบแขตเป้าหมายที่จะดำเนินมาตรการต่อปั๊มสุญญากาศ จนถึงการสำรวจเกณฑ์สมรรถนะ        Stage 1 ดำเนินการโดยแบ่งเป็น 6 ...
Read More

ตอน 22 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: การดำเนิน Step อย่างเป็นรูปธรรม)

★ การดำเนิน Step อย่างเป็นรูปธรรม        ดังแสดงเป็น (ตัวอย่าง) ใบ Audit Step ดังผังที่ 6-11 ใบนี้แยกออกเป็น 4 Step ที่เขียนไว้ในตารางการดำเนิน Step AM ...
Read More

ตอน 21 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: ระบบของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง/การบำรุงรักษาตามแผน)

ผังที่ 6-8 ระบบการบำรุงรักษาด้วยตนเอง/การบำรุงรักษาตามแผน ★ หน้าที่ของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) และการบำรุงรักษาตามแผน (PM) ใน Part III       การแบ่งหน้าที่ของ AM และ PM เป็นดังในผังที่ 6-8 ...
Read More

ตอน 20 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: การทวนซ้ำ “การบำรุงรักษาด้วยตนเอง” (AM)

★ การทวนซ้ำ “การบำรุงรักษาด้วยตนเอง”       แต่หลังจบ Step 5 แล้ว มีหลายบริษัทที่ลำบากกับการจะให้คนเข้าใหม่ทำกิจกรรมอย่างไร  ดังนั้น จึงอยากขอแนะนำการทำ “กิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง Part II” ดังนี้       ...
Read More

ตอน 19 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 6: กิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM)

6-1 กิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM)       กิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง เป็นกิจกรรมที่เป็นลักษณะพิเศษของ TPM  จุดกำเนิดของ TPM มีรากฐานมาจาก “กิจกรรมการขัดข้องเป็น 0 ของเสียเป็น 0 อุบัติเหตุเป็น 0” ซึ่งเป็นกิจกรรมการบำรุงรักษาเครื่องจักรที่ทุกคนมีส่วนร่วม    ...
Read More

ตอน 18 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program (Stage 6: Step 23-26: การดำเนินการและประเมินผล)

9) Stage 6: Step 23-26: การดำเนินการและประเมินผล        เมื่อดำเนินการบำรุงรักษาตามแผนการบำรุงรักษา และประเมินผลนั้น มีการทบทวนและแก้ไขตามความจำเป็น ดำเนินการวิเคราะห์บันทึกการตรวจรับ สะท้อนสู่แผนการตรวจสอบและแผนการซ่อมแซมตามรอบครั้งต่อไป        ในการลาดตระเวนและตรวจเช็คจริง จากเดิมที่มีแนวคิดอย่างเหนียวแน่นว่าให้ “ค้นพบข้อบกพร่องแต่เนิ่น ...
Read More

ตอน 17 Planned Maintenance ทฤษฎี Mother Program(Stage 5: จัดทำแผนโครงสร้างการบำรุงรักษา)Step 20: จัดทำงบประมาณ Step 22: จัดทำแผนระยะกลางระยะยาว

8) Step 20: จัดทำงบประมาณ Step 22: จัดทำแผนระยะกลางระยะยาว        อย่างที่กล่าวไปข้างต้น การบำรุงรักษาเครื่องจักรไม่สามารถทำได้โดยให้ “ค่าใช้จ่ายเป็นศูนย์”  จำเป็นต้องมีค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น ค่าตรวจสอบเป็นประจำ ค่าแรงในการตรวจเช็ค-ลาดตระเวน ค่าจัดซื้อสิ่งของ  ในทางทฤษฎี ...
Read More
Loading...