ตอน 4 Planned Maintenance (สร้างโครงสร้างการบำรุงรักษาตามทฤษฎี – ข้อเสนอ Mother Program)

       จากสภาพความเป็นจริงข้างต้น ให้ใช้ Mother Program ตามโครงสร้างการบำรุงรักษาตามทฤษฎีที่มีการวางแผนเป็นตัวนำ แล้วลองมาทบทวนโครงสร้างการบำรุงรักษาของบริษัทกัน Mother Program ดังแสดงในผังที่ 1-1 (รายละเอียดดูผังที่ 1-2 และ1-3  ประกอบ)        ...
Read More

ตอน3 Planned Maintenance (ประเภทของเครื่องจักร)

  1. ประเภทของเครื่องจักร        เครื่องจักรมักถูกแบ่งตามประเภทของอุตสาหกรรม เช่น “เครื่องจักรเชิงแปรรูปประกอบ” “เครื่องจักรเชิงกระบวนการ” “เครื่องจักรเชิงอุตสาหกรรมกระบวนการ” เป็นต้น  แต่ถึงจะถูกจัดเข้าประเภทอุตสาหกรรมกระบวนการ แต่ก็มีเครื่องจักรเชิงแปรรูปประกอบอยู่ด้วย  หรืออุตสาหกรรมรถยนต์ระยะหลังเครื่องจักรก็ใหญ่ขึ้น ทำการเดินเครื่องแบบต่อเนื่องก็มี  ดังนั้นจึงควรแบ่งประเภทของเครื่องจักรจากพื้นฐานใหม่อีกครั้ง  ก่อนอื่นแบ่งเป็นประเภทเครื่องจักรกลและอุปกรณ์วัดคุมและอุปกรณ์ไฟฟ้า และแบ่งเครื่องจักรกลออกเป็น 2 ...
Read More

ตอน2 Planned Maintenance (★ “ความน่าเชื่อถือ” และ “ความครอบคลุม” “ความประหยัด”)

★ “ความน่าเชื่อถือ” และ “ความครอบคลุม” “ความประหยัด” (ผังที่ 1-1)        “การบำรุงรักษาเครื่องจักร” ก่อนอื่น จำเป็นต้องรักษา “ความน่าเชื่อถือ” เอาไว้  ความน่าเชื่อถือ คือ “การทำฟังก์ชันที่จำเป็นในช่วงเวลาที่กำหนดได้” สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ต้องการก่อนเรื่องอื่น  เครื่องจักรประกอบจากชิ้นส่วนมากมาย  ...
Read More

ตอน 1  Planned Maintenance กิจกรรมบำรุงรักษาเครื่องจักรตามทฤษฎีที่มีแผนการเป็นตัวนำ

  1 “การบำรุงรักษาเครื่องจักร” คือ       (1) ปัจจัย 3 ประการของการบำรุงรักษาเครื่องจักร: “ความน่าเชื่อถือ” “ความครอบคลุม” “ความประหยัด”            ★ ...
Read More

ตอน 2 โปรแกรมในการสร้างระบบ TPM พื้นฐานเพื่อมุ่งสู่ Operational Excellence

หลังจากเตรียมการใน Step 1- Step 5 เรียบร้อยแล้ว สิ่งที่ต้องทำต่อไปคือการ Kick-off กิจกรรม TPM เพื่อนำมาดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยสาระสำคัญของการทำ TPM kick-off มีดังนี้ Step 6: TPM kick-off วันเริ่มต้นของการทำกิจกรรม ...
Read More

ตอน 1 โปรแกรมในการสร้างระบบ TPM พื้นฐานเพื่อมุ่งสู่ Operational Excellence

ในการดำเนินกิจกรรม TPM อย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างวัฒนธรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในองค์กร ทาง JIPM แนะนำให้ดำเนินการตามขั้นตอน 12 Step to Implement TPM ดังนี้ครับ 12 Step ของโปรแกรมการดำเนินกิจกรรม TPM ได้มีการประกาศเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1983 ...
Read More

ตอน 3 (5 Key Point) ของ “การปฏิวัติการบริหาร” ด้วย TPM

หลังจากเราเข้าใจ Key Point ที่ 1 เรื่องการกำหนดเป้าหมาย ซึ่งถือว่าเป็นพื้นฐานของการบริหาร เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้มีพลัง และ เติบโตอย่างยั่งยืน เรามาทำความเข้าใจกับ Key Point ที่ 3, 4 และ 5 กันต่อครับ การสร้างทีม ...
Read More

ตอน 2 (5 Key Point) ของ “การปฏิวัติการบริหาร” ด้วย TPM

หลังจากเราเข้าใจ Key Point ที่ 1 เรื่องการกำหนดเป้าหมาย ซึ่งถือว่าเป็นพื้นฐานของการบริหาร เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้มีพลัง และ เติบโตอย่างยั่งยืน เรามาทำความเข้าใจกับ Key Point ที่ 2 กันต่อครับ การจัดองค์กร องค์กรส่งเสริมTPM นั้น ได้มีการนำเอา ...
Read More

ตอน 1 (5 Key Point) ของ “การปฏิวัติการบริหาร” ด้วย TPM

ปรมาจารย์ด้านการบริหาร Drucker มีความเห็นว่า งานพื้นฐานของการบริหารที่ทำให้เกิดองค์กรที่มีพลังเต็มที่ มีการเติบโตนั้น มีอยู่ 5 อย่างด้วยกัน (1) การกำหนดเป้าหมาย (2) การจัดองค์กร (3) การสร้างทีม หมายถึง การสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้เกิดมีการสื่อสาร (4) การประเมินผล (5) ...
Read More

จุดร่วมของ TPS (JIT) และ TPM

เคยสงสัยไหมว่า TPS (Toyota Production System) และ TPM (Total Productive Maintenance) ซึ่งเป็น Management tools สไตล์ญี่ปุ่น ซึ่งทั้ง 2 tools มีวัตถุประสงค์ที่เหมือนกันอย่างหนึ่ง คือการพัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการปรับปรุง และ ...
Read More

TPM คือ การใช้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ทุกอย่าง

เป็นเรื่องที่น่าคิดเหมือนกันว่า TPM สามารถนำไปปรับใช้ให้สอดคล้องกับเทคนิควิธีการไคเซ็น ต่างๆ ได้หรือไม่ ความรู้ที่พัฒนาและประยุกต์ใช้ใน TPM ในการดำเนินกิจกรรม TPM ที่ที่ปรึกษา TPM พร้อมกับคนในบริษัทแต่ละบริษัท จะมีการพัฒนาเทคนิคไคเซ็น วิธีการ เครื่องมือต่างๆ มากมาย ซึ่งได้แบ่งประเภทเทคนิคไคเซ็นหลักๆ ตาม TPM 8 ...
Read More

คำจำกัดความของ “TPM ทั่วทั้งบริษัท” และแนวคิดพื้นฐาน

เคยสงสัยไหมว่า ความหมายของ TPM คืออะไร ถ้าพอจะเรียบเรียงจากคำจำกัดความของ JIPM พอจะสรุปได้ดังนี้ หลังจากการเปลี่ยนแปลงจาก “ยุคสมัยของผลิตแล้วขายได้” ไปสู่ “ยุคสมัยผลิตของที่ขายได้” กิจกรรม TPM จึงได้มีการขยายขอบเขตเป้าหมายจากเฉพาะฝ่ายการผลิตไปสู่ “TPM ทั่วทั้งบริษัท” ที่มีเป้าหมายทั่วทั้งบริษัทหรือทุกฝ่ายงาน โดยมีเป้าหมายที่ฝ่ายงานทุกฝ่าย เช่น ฝ่ายวิจัยพัฒนา ...
Read More