ตอน 27 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คด้วยตนเอง • 4. ตัวอย่างการค้นพบการเสื่อมสภาพด้านในเครื่องจักร

       ลำดับถัดไป เรามาแนะนำตัวอย่างจริงของการค้นพบการเสื่อมสภาพด้านในเครื่องจักรจากการที่ผู้ปฏิบัติงานทำงานตรวจเช็คประจำวัน ●  มันแปลกไปหน่อยนะ ?        ผู้ปฏิบัติงานคนหนึ่ง รู้ตัวว่า Cycle Time ของเครื่องจักรเริ่มยาวขึ้น จึงต้องเปิดวาล์วปรับการไหลของไฮดรอลิก  นั่นก็คือรู้สึกตัวว่าความเร็วค่อย ๆ เปลี่ยนไป ...
Read More

ตอน 26 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คด้วยตนเอง • 3. ในการตรวจเช็คการเสื่อมสภาพด้านในเครื่องจักร

        กิจกรรมจนถึงตรงนี้ คิดว่าได้มีการยกระดับการตรวจเช็คลักษณะภายนอกได้ดีกว่าที่แล้วมา แต่โดยทั่วไปจะยังมีการตกหล่นของการตรวจเช็คการเสื่อมสภาพด้านในเครื่องจักร  นั่นมีสาเหตุมาจากการถอดใจว่า “การขัดข้องและของเสียที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของชิ้นส่วนภายในเครื่องจักรเป็นสิ่งที่ป้องกันไม่ได้”        ดังนั้น ในที่นี้ มาพูดถึงวิธีการค้นหาการเสื่อมสภาพด้านในเครื่องจักรนั้นกันดีกว่า ●  การค้นพบระหว่างเดินเครื่อง       ...
Read More

ตอน 25 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คด้วยตนเอง 2. เมื่อเกิดเครื่องขัดข้องหรือของเสียจะทำอย่างไร

        แม้จะมีการปรับปรุงแก้ไข Check List ตามเอกสารมาตรฐานที่ทบทวนใหม่และดำเนินการตรวจเช็คประจำวันแล้วก็ตาม แต่ในเมื่อเอกสารมาตรฐานนั้นยังไม่ได้ 100 คะแนนเต็ม ก็ยังเกิดเครื่องขัดข้องหรือของเสียขึ้นได้  ในกรณีเช่นนี้ ต้องหาให้ได้ว่าสาเหตุนั้นอยู่ที่ไหน และทบทวนให้ดีว่ามีจุดที่ควรไคเซ็นในพฤติกรรมของพวกตนที่ไหน และจำเป็นต้องใส่เนื้อหานั้นเข้าไปในเอกสารมาตรฐาน        ต่อจากนี้จะขอพูดถึงจุดสำคัญในตอนทบทวน ...
Read More

ตอน 24 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คด้วยตนเอง 1. ในการตรวจเช็คด้วยตนเองต้องทำอะไรบ้าง

จากตรงนี้จะขอพูดถึงจุดสำคัญของวิธีดำเนินการ Step 5 “การตรวจเช็คด้วยตนเอง” ● การเปลี่ยนมาตรฐานชั่วคราวให้เป็นมาตรฐานจริง        มาตรฐานของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) ได้มีการจัดทำมาตรฐานชั่วคราวแล้วใน Step 3 แต่หลังจากนั้นต้องเพิ่มหัวข้อที่ต้องปฏิบัติตามจากการตรวจเช็คโดยรวม เนื้อหาก็จะยกระดับมากขึ้น        เพื่อการนี้ ...
Read More

ตอน 23 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คโดยรวม 7. การตรวจเช็คโดยรวมของการปฏิบัติงาน

        ในสถานที่ทำงานที่เป็นการปฏิบัติงานด้วยมือ ให้หาข้อบกพร่องของเนื้อหาการปฏิบัติงานหรือสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ทำการฟื้นสภาพหรือไคเซ็นให้ปฏิบัติตามได้ง่าย และให้สรุปผลที่ได้นั้นเป็น “มาตรฐานการปฏิบัติงานชั่วคราว” ยิ่งกว่านั้น จุดสำคัญคือในการตรวจเช็คโดยรวมนี้ให้ทบทวนเนื้อหาการปฏิบัติงานแต่ละงานอย่างจริงจัง · Check Point ของการตรวจเช็คโดยรวม        ในสถานที่ปฏิบัติงานด้วยมือ เพื่อทบทวนเนื้อหาการปฏิบัติงานอย่างจริงจัง ...
Read More

ตอน 22 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คโดยรวม 6. การตรวจเช็คโดยรวมของไฟฟ้า

สุดท้ายขอพูดถึงวิธีการตรวจเช็คโดยรวมของไฟฟ้า ซึ่งมี Check Point ดังต่อไปนี้ · Check Point ของการตรวจเช็คโดยรวม สายไฟ ท่อทาง ข้อต่อ มีจุดที่หลุดอยู่หรือสึกหรอหรือไม่ สายดินหลุดอยู่หรือไม่ สายไฟมีรอยลาก รอยสี หรือว่าสัมผัสกับน้ำมัน-น้ำหรือไม่ หลอดไฟขาด หรือมีการหลวมของพวกสวิตช์หรือไม่ เข็มของมาตรวัดแรงดัน ...
Read More

ตอน 21 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คโดยรวม 5. การตรวจเช็คโดยรวมของระบบส่งกำลัง

ต่อไปจะพูดถึงวิธีการตรวจเช็คโดยรวมของระบบส่งกำลัง (Transmission)  Check Point เกี่ยวกับระบบส่งกำลัง มีดังต่อไปนี้ · Check Point ของการตรวจเช็คโดยรวม V Belt มีรอย สิ่งสกปรกมาติด หรือสึกหรอหรือไม่ มีการใช้สายพานผิดชนิด หรือตั้ง Tension ผิดหรือไม่ โซ่มีการยืดหรือ ...
Read More

ตอน 20 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คโดยรวม 4. การตรวจเช็คโดยรวมของไฮดรอลิก-นิวเมติก

ถัดไปเป็นเรื่องเกี่ยวกับไฮดรอลิก-นิวเมติก  Check Point ที่เกี่ยวข้องกับไฮดรอลิก-นิวเมติก มีดังนี้ · Check Point ของการตรวจเช็คโดยรวม ดูว่าเกิดความร้อนหรือเสียงผิดปกติที่โซลินอยด์วาล์ว การหลวมคลอนของสายไฟ หรือว่ามีสายขาดหรือไม่ มีการคลอน การสั่นสะเทือนของอุปกรณ์ ท่อทางหรือไม่ จุด 0 เข็มสั่น หรือมีการแสดงขอบเขตของมาตรวัดแรงดันได้ดีหรือไม่ ท่อทางที่ไม่จำเป็น ...
Read More

ตอน19 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คโดยรวม 3. การตรวจเช็คโดยรวมของการหล่อลื่น

ถัดไปจะขอพูดเกี่ยวกับเนื้อหาการตรวจเช็คโดยรวมที่เกี่ยวข้องกับการหล่อลื่น  ก่อนอื่น มี Check Point ดังต่อไปนี้ · Check Point ของการตรวจเช็คโดยรวม สภาพการทำการสะสาง-สะดวก-สะอาดของ Oil Station ภาชนะ (เครื่องมือ) ในการหล่อลื่น อยู่ในสภาพดีหรือไม่ ตัวจ่ายน้ำมันมีความสะอาดทั้งด้านในและด้านนอก มีการหยดได้อย่างแน่นอนหรือไม่ อุปกรณ์หล่อลื่นอัตโนมัติทำงานได้ปกติหรือไม่ ...
Read More

ตอน18 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คโดยรวม 2. การตรวจเช็คโดยรวมของโบลต์-น็อต

        ถ้าเช่นนั้น ก่อนอื่น มาพูดเกี่ยวกับการตรวจเช็คโดยรวมที่เกี่ยวข้องกับโบลต์-น็อตกัน         ก่อนเริ่มการตรวจเช็คโดยรวมของโบลต์-น็อต จำเป็นต้องมีการกำหนดไว้ว่า จะให้ผู้ปฏิบัติงานรับผิดชอบในขอบเขตแค่ไหน         ตัวอย่างเช่น โบลต์ปรับแต่งใบมีดหรือ ...
Read More

ตอน17 (Autonomous Maintenance)• การตรวจเช็คโดยรวม 1. วิธีดำเนินการและจุดสำคัญของการตรวจเช็คโดยรวม

     จากตรงนี้จะขอพูดถึง Step 4 “การตรวจเช็คโดยรวม”        การตรวจเช็คโดยรวมนี้ ดำเนินการโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพแบบเร่งซึ่งเกิดขึ้นเพราะ “ไม่รู้” ถึงสิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานควรทำ ควรปฏิบัติตาม  เพื่อการนี้ จึงต้องให้สมาชิกกลุ่มย่อยทุกคนได้เรียนรู้ความรู้พื้นฐานของเครื่องจักร และดำเนินการฝึกทักษะเพื่อยกระดับทักษะในการค้นพบข้อบกพร่องและฟื้นสภาพ จากนั้นจึงทำการตรวจเช็คเครื่องจักรจริง     ...
Read More

ตอน16 (Autonomous Maintenance)ดำเนินการตรวจสอบโดยรวม (จัดทำบัญชีจุดบกพร่องและร่างมาตรการแก้ไข)

ดำเนินการตรวจสอบโดยรวม *มาตรฐานการตรวจสอบขันแน่น ไฮดรอลิก นิวแมติก ระบบส่งกำลังไฟฟ้า มาตรฐานการตรวจสอบ1 เกี่ยวกับการขันแน่น (Bolt & Nut) ・  Bolt ・ Nut มีการหลวมคลอน หล่นหายหรือไม่ ・  มีการใช้แหวนอีแปะที่รูยาวหรือไม่ ・  มีการสอดโบลต์จากข้างล่าง แล้วใส่น็อตจากข้างบนแล้วขันหรือไม่2 ...
Read More