...

ตอน 3 (5 Key Point) ของ “การปฏิวัติการบริหาร” ด้วย TPM

หลังจากเราเข้าใจ Key Point ที่ 1 เรื่องการกำหนดเป้าหมาย  ซึ่งถือว่าเป็นพื้นฐานของการบริหาร เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้มีพลัง และ เติบโตอย่างยั่งยืน   เรามาทำความเข้าใจกับ Key Point ที่  3, 4 และ 5 กันต่อครับ  การสร้างทีม ในการสร้างทีมนั้น มีเป้าหมายเพื่อสร้างแรงจูงใจและการสื่อสาร กิจกรรม Circle (หรือ Group) ของหน้างานการผลิตนั้นก็คือ การสร้างทีมนั่นเอง กิจกรรม circle ของญี่ปุ่นนั้น ในปี 1962  มีการเริ่มต้นของ QC Circle  นอกจากนี้ ฟิลิป ครอสบี้ ของอเมริกา ได้เริ่มนำเสนอ ZD (Zero Defects) ซึ่ง NEC ได้นำเข้ามาในปี 1965 แล้วเริ่มต้น ZD โดยการทำกิจกรรมกลุ่มย่อย ส่วน QC Circle นั้น […]

ตอน 2 (5 Key Point) ของ “การปฏิวัติการบริหาร” ด้วย TPM

หลังจากเราเข้าใจ Key Point ที่ 1 เรื่องการกำหนดเป้าหมาย  ซึ่งถือว่าเป็นพื้นฐานของการบริหาร เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้มีพลัง และ เติบโตอย่างยั่งยืน   เรามาทำความเข้าใจกับ Key Point ที่  2 กันต่อครับ การจัดองค์กร องค์กรส่งเสริมTPM นั้น ได้มีการนำเอา “กลไกตัวเชื่อมโยง” ที่นำเสนอโดย เลนซิส รีการ์ท ตั้งเป็น “องค์กรกลุ่มย่อยแบบซ้อนกันตามระดับชั้น” สำหรับส่งเสริม TPM ซึ่งเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเฉพาะ โดยมีผู้จัดการโรงงานเป็น leader มีผู้จัดการฝ่ายของแต่ละหน่วยงาน เป็นสมาชิก ตั้งขึ้นเป็นคณะกรรมการส่งเสริมTPM ทั่วทั้งบริษัท ในองค์กรระดับต่ำลงไปก็จะมีคณะกรรมการส่งเสริม TPM ของ โดยมีผู้จัดการแผนก เป็นคณะกรรมการส่งเสริม  ระดับแผนก    นอกจากนี้ จัดตั้งที่ประชุมส่งเสริมโดยมาจาก Supervisor , leader ของแต่ระดับ รวมทั้งมีการจัดตั้ง circle (หรือ group) โดยมี circle leader, […]

ตอน 1 (5 Key Point) ของ “การปฏิวัติการบริหาร” ด้วย TPM

ปรมาจารย์ด้านการบริหาร  Drucker  มีความเห็นว่า งานพื้นฐานของการบริหารที่ทำให้เกิดองค์กรที่มีพลังเต็มที่ มีการเติบโตนั้น มีอยู่ 5 อย่างด้วยกัน (1) การกำหนดเป้าหมาย (2) การจัดองค์กร (3) การสร้างทีม หมายถึง การสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้เกิดมีการสื่อสาร (4) การประเมินผล (5) การเสริมสร้างบุคลากรรวมถึงตัวเองด้วย การกำหนดเป้าหมาย ในเรื่องการกำหนดเป้าหมายนั้น Drucker ได้นำเสนอ “การบริหารเป้าหมายด้วยตัวเอง” Drucker คิดว่าผลดีสูงสุดของ “การบริหารเป้าหมายด้วยตัวเอง” ก็คือ การที่สามารถบริหารงานของตนเองด้วยตัวของตัวเองได้ การบริหารด้วยตัวเอง (Self-Management) นั้น นำมาสู่การสร้างแรงจูงใจที่แข็งแกร่ง สร้างให้เกิดความมุ่งมั่นในการทำสิ่งที่ดีที่สุด เพิ่มเป้าหมายให้สูงขึ้น ขยายมุมมองให้กว้างขึ้น คุณค่าของการบริหารเป้าหมายด้วยตัวเองนั้น ทำให้สามารถเปลี่ยนแปลงการบริหารด้วยการบริหารด้วยตัวเอง แทนที่การบริหารจากการสั่งการหรือใช้อำนาจ ในการบริหารการทำงานของตัวเองนั้น ต้องเปรียบเทียบกับเป้าหมายแล้วทำการประเมินงานของตนเองและผลลัพธ์ให้ได้ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีข้อมูลที่แน่ชัดเพื่อการประเมินตนเอง ข่าวสารข้อมูลนั้นเป็นเครื่องมือสำหรับการบริหารด้วยตัวเอง ไม่ได้เป็นเครื่องมือเพื่อการบริหารจากเบื้องบน (Top down management) การบริหารเป้าหมายด้วยตัวเองเท่านั้น จึงจะเป็นปรัชญาการบริหารที่แท้จริง    ในการกำหนดเป้าหมายของกิจกรรม TPM […]

Seraphinite AcceleratorOptimized by Seraphinite Accelerator
Turns on site high speed to be attractive for people and search engines.